กระผม นาย วรวุฒิ ราชชิต นักศึกษาสาขาวิชา การพัฒนาชุมชน blog นี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ ข้อมูลเกี่ยวกับผลไม้อีสาน เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ศึกษา
วันพุธที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2554
ผลไม้อีสานบ้านเฮา เเท้ๆ
กระผม นาย วรวุฒิ ราชชิต นักศึกษาสาขาวิชา การพัฒนาชุมชน blog นี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ ข้อมูลเกี่ยวกับผลไม้อีสาน เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ศึกษา
หมากเม่า
ชื่อท้องถิ่น:บักเม่า
ชื่อสามัญ: มะเม่า
ชื่อวิทยาศาสตร์: Antidesma velutinosum Blume
ชื่อวงศ์: Stilaginaceae.
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบออกดอกช่วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม และผลจะสุกในช่วงเดือน สิงหาคม - กันยายน
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์: น้ำผลไม้ ไวน์เม่า แยม กวน สีธรรมชาติผสมอาหาร ฯ ผลมีสรรพคุณเป็นยาระบายและบำรุงสายตา ใบสดนำมาอังไฟเพื่อใช้ประคบแก้อาการฟกช้ำดำเขียว เปลือกต้นเม่าใช้เป็นส่วนประกอบของลูกประคบ
ชื่อสามัญ: มะเม่า
ชื่อวิทยาศาสตร์: Antidesma velutinosum Blume
ชื่อวงศ์: Stilaginaceae.
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบออกดอกช่วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม และผลจะสุกในช่วงเดือน สิงหาคม - กันยายน
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์: น้ำผลไม้ ไวน์เม่า แยม กวน สีธรรมชาติผสมอาหาร ฯ ผลมีสรรพคุณเป็นยาระบายและบำรุงสายตา ใบสดนำมาอังไฟเพื่อใช้ประคบแก้อาการฟกช้ำดำเขียว เปลือกต้นเม่าใช้เป็นส่วนประกอบของลูกประคบ
หมากแงว
ชื่อท้องถิ่น:บักแงว
ชื่อสามัญ:คอแลน
ชื่อวิทยาศาสตร์: 'Nephelium hypoleucum' Kurz
ชื่อวงศ์: Sapindaceae
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้ยืนต้น
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์:ผลใช้รับประทานแทนยาระบายได้
ชื่อสามัญ:คอแลน
ชื่อวิทยาศาสตร์: 'Nephelium hypoleucum' Kurz
ชื่อวงศ์: Sapindaceae
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้ยืนต้น
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์:ผลใช้รับประทานแทนยาระบายได้
บักเดื่อ
ชื่อท้องถิ่น : บักเดื่อ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus racemosa Linn
ชื่อวงศ์ : MORACEAE
ชื่อสามัญ : อุดรธานี-อีสาน เรียก หมากเดื่อ แม่ฮ่องสอน-กะเหรี่ยง เรียก กูแช ลำปาง เรียก มะเดื่อ ภาคกลาง เรียก มะเดื่ออุทุมพร มะเดื่อชุมพร มะเดื่อเกลี้ยง ภาคเหนือ-กลาง เรียก มะเดื่อ เดื่อเกลี้ยง ภาคใต้ เรียก เดื่อน้ำ
ลักษณะทั่วไป : มะเดื่อเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูงประมาณ 10–20 เมตร ลำต้นเกลี้ยงสีน้ำตาลหรือน้ำตาลปนเทา
สรรพคุณทางยา : เปลือกต้น รสฝาด แก้ท้องร่วง ชะล้างบาดแผล สมานแผล แก้ประดง ผื่นคันแก้ไข้ท้องเสีย ไข้รากสาดน้อยและแก้ธาตุพิการ ราก รสฝาดเย็น แก้ไข้ กระทุ้งพิษไข้ ถอนพิษไข้ และแก้ท้องร่วง
ผล รสฝาดเย็น แก้ท้องร่วง และสมานแผล ผลสุก เป็นยาระบาย
หมากเล็บแมว
ชื่อท้องถิ่น:หมากเล็บแมว
ชื่อสามัญ:เล็บแมว
ชื่อวิทยาศาสตร์: Ziziphus oenoplia (L.) Mill. var. oenoplia
ชื่อวงศ์: RHAMNACEAE
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้พุ่ม
หมากมอน
ชื่อสามัญ : หม่อน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morus alba L.
ชื่อวงศ์ : Moraceae
ลักษณะ หม่อน : เป็นพืชอาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของหนอนไหม และเป็นหัวใจสำคัญของการประกอบอาชีพการปลูกหม่อนเสี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรังไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพใบหม่อน หม่อนเป็นพืชที่มีอายุนาน 80-100 ปี ถ้าไม่ได้รับความกระทบกระเทือน จากการเก็บเกี่ยวหรือโรค แมลงศัตรู สามารถเจริญได้ดีตั้งแต่เขตอบอุ่นถึงเขตร้อน หม่อนที่เกิดในเขตอากาศหนาว จะหยุดพักไม่เจริญเติบโต นับตั้งแต่ปลายฤดูใบไม้ร่าง จนถึงฤดูใบไม้ผลิ
ประโยชน์ ใบ : สามารถนำไปทำเป็นชาสำหรับชงน้ำร้อนดื่มโดยจะทำในรูปชาเขียว ชาจีน และชาฝรั่ง หรือ รับประทานใบและยอดอ่อนโดยตรงโดยการใส่ในต้ม หรือแกงก็ได้
ผลแปรรูปเป็นน้ำผลหม่อนเข็มข้นหรือพร้อมดื่ม และเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารต่าง เช่น
ไอศกรีม แยม เยลลี่ ข้าวเกรียบ ขนมพายลูกหม่อน รวมทั้งการผลิตเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประเภทไวน์
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morus alba L.
ชื่อวงศ์ : Moraceae
ลักษณะ หม่อน : เป็นพืชอาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของหนอนไหม และเป็นหัวใจสำคัญของการประกอบอาชีพการปลูกหม่อนเสี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรังไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพใบหม่อน หม่อนเป็นพืชที่มีอายุนาน 80-100 ปี ถ้าไม่ได้รับความกระทบกระเทือน จากการเก็บเกี่ยวหรือโรค แมลงศัตรู สามารถเจริญได้ดีตั้งแต่เขตอบอุ่นถึงเขตร้อน หม่อนที่เกิดในเขตอากาศหนาว จะหยุดพักไม่เจริญเติบโต นับตั้งแต่ปลายฤดูใบไม้ร่าง จนถึงฤดูใบไม้ผลิ
ประโยชน์ ใบ : สามารถนำไปทำเป็นชาสำหรับชงน้ำร้อนดื่มโดยจะทำในรูปชาเขียว ชาจีน และชาฝรั่ง หรือ รับประทานใบและยอดอ่อนโดยตรงโดยการใส่ในต้ม หรือแกงก็ได้
ผลแปรรูปเป็นน้ำผลหม่อนเข็มข้นหรือพร้อมดื่ม และเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารต่าง เช่น
ไอศกรีม แยม เยลลี่ ข้าวเกรียบ ขนมพายลูกหม่อน รวมทั้งการผลิตเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประเภทไวน์
บักเหลี่ยม
ชื่อพื้นเมือง ชื่อท้องถิ่น : หมากเหลี่ยม
ชื่อสามัญ : มะกอกเกลื้อน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Canarium sublatum Guillaumin
ชื่อวงศ์ : Burseraceae
ชื่ออื่นๆ : กอกก้น (อีสาน) ซาลัก (เขมร) มะเกิ้ม (เหนือ)
ลักษณะ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูง 10-15 เมตร
ประโยชน์/สรรพคุณทางยา : เนื้อในเมล็ดมัน ผลนำไปดอง ผลที่มีรสฝาดแก้ไอ ขับเสมหะ แก่นแก้โลหิตกระดูกพิการ แก้ประดง ใช้ทาแก้ผื่นคัน
ชื่อสามัญ : มะกอกเกลื้อน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Canarium sublatum Guillaumin
ชื่อวงศ์ : Burseraceae
ชื่ออื่นๆ : กอกก้น (อีสาน) ซาลัก (เขมร) มะเกิ้ม (เหนือ)
ลักษณะ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูง 10-15 เมตร
ประโยชน์/สรรพคุณทางยา : เนื้อในเมล็ดมัน ผลนำไปดอง ผลที่มีรสฝาดแก้ไอ ขับเสมหะ แก่นแก้โลหิตกระดูกพิการ แก้ประดง ใช้ทาแก้ผื่นคัน
บักขามป้อม
ชื่อท้องถิ่น: หมากขามป้อม
ชื่อสามัญ: -
ชื่อวิทยาศาสตร์: Indian gooseberry
ชื่อวงศ์: EUPHORBIACEAE
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้ยืนต้น
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์:สรรพคุณมะขามป้อมตามตำรับยาไทยสามารถแก้หวัด ผลมะขามป้อมมีสรรพคุณแก้หวัด แก้ไอได้ดี
บักเบน
ชื่อพื้นบ้านอีสาน : หมากเบน
ชื่ออื่นๆ : ตะขบป่า ตานเสี้ยน มะเกว๋นนก มะเกว๋นป่า
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Flacourtia indica(Burn.f.)Merr.
ประเภท : ไม้ต้นขนาดกลาง หรือไม้พุ่ม สูง 2-5 เมตร กิ่งก้านมีขนและมีหนามแหลมแข็ง
ประโยชน์ทางยา : หมากเบนเป็นผลไม้มีรสหวานทางสมุนไพรใช้ลำต้นเข้าตำหรับยา แก้โรคอีสุกอีใส แก่นไม้และรากนำไปต้มดื่มรักษาโรคไตพิการ หรือแก่นไม้ต้มน้ำดื่มแก้ท้องร่วง บิด เป็นยาขับเหงื่อด้วย หรือเข้าตำรายาต้มรักษาโรคไตได้
หมากม่วงป่า
ชื่อสามัญ : มะม่วงป่า
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera coloneura Kurz
ชื่อวงศ์ : ANACARDIACEAE
ชื่ออื่น : มะม่วงละว้า มะม่วงละโว้ (ใต้) มะม่วงราวา (นราธิวาส) ราวอ (มลายู-นราธิวาส)
ลักษณะทั่วไป : ไม้ต้น สูง 25-30 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทรงสูงถึงแผ่กว้าง ลำต้นเปลาตรง เปลือกสีน้ำตาลเทา แตก เป็นสะเก็ด เปลือกชั้นในสีน้ำตาลอ่อนอมเหลือง แผ่นใบ เรียวยาว รูปขอบขนานแกมรูปรีถึงแกมรูปไข่กลับ กว้าง 3-9 เซนติเมตร ยาว 10-25 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม หรือทู่ โคนใบสอบเป็นรูปลิ่มบางครั้งทู่ ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบ 8-10 เซนติเมตร (-16) คู่ ก้านใบยาว 2-5 เซนติเมตร ดอก เล็กสีเหลืองอ่อน หรือสีครีม ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล กลมรี กว้าง 2.5-3 เซนติเมตร ยาว 2.5-3.5 เซนติเมตร เมื่อแก่สุกสีเหลืองส้ม แต่ถ้าสุกมากจะมีสีคล้ำเกือบดำ
ชื่อวงศ์ : ANACARDIACEAE
ชื่ออื่น : มะม่วงละว้า มะม่วงละโว้ (ใต้) มะม่วงราวา (นราธิวาส) ราวอ (มลายู-นราธิวาส)
ลักษณะทั่วไป : ไม้ต้น สูง 25-30 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทรงสูงถึงแผ่กว้าง ลำต้นเปลาตรง เปลือกสีน้ำตาลเทา แตก เป็นสะเก็ด เปลือกชั้นในสีน้ำตาลอ่อนอมเหลือง แผ่นใบ เรียวยาว รูปขอบขนานแกมรูปรีถึงแกมรูปไข่กลับ กว้าง 3-9 เซนติเมตร ยาว 10-25 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม หรือทู่ โคนใบสอบเป็นรูปลิ่มบางครั้งทู่ ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบ 8-10 เซนติเมตร (-16) คู่ ก้านใบยาว 2-5 เซนติเมตร ดอก เล็กสีเหลืองอ่อน หรือสีครีม ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล กลมรี กว้าง 2.5-3 เซนติเมตร ยาว 2.5-3.5 เซนติเมตร เมื่อแก่สุกสีเหลืองส้ม แต่ถ้าสุกมากจะมีสีคล้ำเกือบดำ
ระยะเวลาการเป็นดอก-ผล ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ ผลแก่ระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม
ประโยชน์ : ผล ช่อดอก และยอดอ่อน ใช้รับประทานได้ เนื้อไม้ใช้ก่อสร้าง ทำเครื่องเรือน เครื่องเฟอร์นิเจอร์ และด้ามเครื่องมือเครื่องใช้ ได้ดี
ตะโกนา
ชื่อท้องถิ่น: บักโก ตะโกนา (ภาคเหนือ) มะโก โก (ภาคอีสาน)
ชื่อสามัญ: ตะโกนา
ชื่อวิทยาศาสตร์: Diospyros Rhodcalyx
ชื่อวงศ์: Ebenaceae
ลักษณะวิสัย/ประเภท: ตะโกนา เป็นพืช ยืนต้นขนาดกลาง ใบเล็กขนาดใบข่อย
ผลของตะโกนามีลักษณะคล้ายกับผลมังคุดหรือลูกพลับ รสหวานอมฝาด
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์: ใช้เป็นยา ผล เปลือกผล แก่น ผลเอามาตากแดด ต้มเอาน้ำดื่มเป็นยาแก้ท้องร่วง ท้องเสีย แก้อาการบวม ขับพยาธิ แก้กษัย แก้ฝีเน่า เปลือกของผลตะโกนา
หมากหว่า
ชื่อท้องถิ่น: ลูกหว้า
ชื่อสามัญ: ลูกหว้า
ชื่อวิทยาศาสตร์: ซีสส์จิอัม คูมินิ (Syzygium cumini (L.) Skeels)
ชื่อวงศ์: (Family Myrtaceae)
ลักษณะวิสัย/ประเภท: ไม้ยืนต้น
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์: สรรพคุณของหว้าและวิธีใช้ เปลือกและใบหว้า ใช้ทำยาอม ยากวาดคอ แก้ปากเปื่อย ลิ้นและคอมีเม็ดเมล็ดหว้า เมล็ดหว้าเมื่อนำมาต้มหรือบด แล้วนำมารับประทาน มีสรรพคุณใช้แก้เบาหวาน แก้บิด แก้ท้องร่วงได้
"ผลหว้าสุก" จะลักษณะสีม่วงดำ และมีรสเปรี้ยวฝาดอมหวาน จึงสามารถนำมาใช้ในการทำไวน์ได้ดี ส่วนยอดอ่อนของหว้า สามารถใช้รับประทานเป็นผักสด
ชื่อสามัญ: ลูกหว้า
ชื่อวิทยาศาสตร์: ซีสส์จิอัม คูมินิ (Syzygium cumini (L.) Skeels)
ชื่อวงศ์: (Family Myrtaceae)
ลักษณะวิสัย/ประเภท: ไม้ยืนต้น
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์: สรรพคุณของหว้าและวิธีใช้ เปลือกและใบหว้า ใช้ทำยาอม ยากวาดคอ แก้ปากเปื่อย ลิ้นและคอมีเม็ดเมล็ดหว้า เมล็ดหว้าเมื่อนำมาต้มหรือบด แล้วนำมารับประทาน มีสรรพคุณใช้แก้เบาหวาน แก้บิด แก้ท้องร่วงได้
"ผลหว้าสุก" จะลักษณะสีม่วงดำ และมีรสเปรี้ยวฝาดอมหวาน จึงสามารถนำมาใช้ในการทำไวน์ได้ดี ส่วนยอดอ่อนของหว้า สามารถใช้รับประทานเป็นผักสด
หมากตากบ
ชื่อวงศ์ : TILIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Muntingla calabura L.
ชื่อสามัญ : Calabura ,Jamalcan ,cherry ,jam tree
ชื่อพื้นเมืองอื่นครบฝรั่ง : (สุราษฏร์ธานี)ตะขบ , ตะขบฝรั่ง(ภาคกลาง)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ขนาดเล็ก (ExST) สูงประมาณ 5-7 เมตร เปลือกสีเทา กิ่งแผ่สาขาขนานกับพื้นดิน ตามกิ่งมีขนปกคลุม ขนนุ่ม และปลายเป็นตุ่ม ยอดอ่อนเมื่อจับดูรู้สึกเหนียวมือเล็กน้อย
ประโยชน์ทางยา : รส และสรรพคุณในตำรายาเปลือกต้น รสฝาด เป็นยาระบาย เพราะมีสารพวก Mucilage มากใบ รสฝาดเอียน ใช้ในการขับเหงื่อ ดอก รสฝาด แก้ปวดศีรษะ แก้หวัด ปวดเกร็งในทางเดินอาหาร ลดไข้ ต้มรวมกับสมุนไพรอื่น ๆ เอาน้ำดื่มเป็นยาขับระดู และแก้โรคตับอักเสบ ผล รสหวานเย็น มีกลิ่นหอมบำรุงกำลัง ทำให้ชุ่มชื่นหัวใจ ราก รสฝาด กล่อมเสมหะและอาจม
หมากตูม
ชื่อท้องถิ่น : บักตูม, หมากตูม
ชื่อสามัญ : Bael, Bengal Quince, Bilak
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Angle Marmelos
ชื่อวงศ์ : Rutaceae
ชื่อสามัญ : Bael, Bengal Quince, Bilak
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Angle Marmelos
ชื่อวงศ์ : Rutaceae
ชื่อท้องถิ่น : - ทั่วไป เรียก มะตูม
- ภาคเหนือ เรียก มะปิน
- ภาคใต้ เรียก ตู้, กะทันตา, เถร, ตูม, ตุ่มตัง
- ภาคอีสาน เรียก บักตูม, หมากตูม
- ล้านช้าง เรียก ตุ่มตัง
ลักษณะวิสัย/ประเภท : มะตูมเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ใบใหญ่ยาวสีเขียวอ่อน ลำต้นโตสีค่อนข้างขาว มีหนามแหลมคมและยาว ดอกมีสีขาวกลิ่นหอม ผลกลมโต เปลือกแข็ง เนื้อข้างในมีสีนวลออกทางเหลืองอ่อน มีเมล็ดมาก ยางที่อยู่โดยรอบเมล็ดจะเป็นเมือกเหนียว เนื้อมะตูมจากผลแก่จัด นำมาเชื่อมกับน้ำตาล เป็นมะตูมเชื่อม หรือเอาผลอ่อนมาหั่นบางๆ ตากแดดใช้เป็นชามะตูม โดยต้มเอาน้ำมาดื่ม
การปลูก ต้นมะตูมป่ามักเกิดตามป่าดงทั่วไป โดยเฉพาะป่าเบญจพรรณ เจริญงอกงามได้ในดินทั่วไปทุกภาค การปลูกนิยมตอนเอากิ่งมาปลูกจะได้ผลดี หรือเอาเมล็ดมาเพาะก็ได้ โดยเอาต้นกล้าที่ปลูกเอาไว้ในถุงพลาสติก รอจนต้นแข็งแรงเสียก่อนจึงเอาไปปลูกในหลุมต่อไป ดูแลรดน้ำเป็นระยะ พร้อมทั้งกำจัดวัชพืช
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์ : สรรพคุณทางยา
- เปลือกรากและลำต้น แก้ไขจับสั่น ขับลมในลำไส้
- ใบสดคั้นเอาน้ำแก้หวัด หลอดลมอักเสบ ตาอักเสบ
- ภาคเหนือ เรียก มะปิน
- ภาคใต้ เรียก ตู้, กะทันตา, เถร, ตูม, ตุ่มตัง
- ภาคอีสาน เรียก บักตูม, หมากตูม
- ล้านช้าง เรียก ตุ่มตัง
ลักษณะวิสัย/ประเภท : มะตูมเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ใบใหญ่ยาวสีเขียวอ่อน ลำต้นโตสีค่อนข้างขาว มีหนามแหลมคมและยาว ดอกมีสีขาวกลิ่นหอม ผลกลมโต เปลือกแข็ง เนื้อข้างในมีสีนวลออกทางเหลืองอ่อน มีเมล็ดมาก ยางที่อยู่โดยรอบเมล็ดจะเป็นเมือกเหนียว เนื้อมะตูมจากผลแก่จัด นำมาเชื่อมกับน้ำตาล เป็นมะตูมเชื่อม หรือเอาผลอ่อนมาหั่นบางๆ ตากแดดใช้เป็นชามะตูม โดยต้มเอาน้ำมาดื่ม
การปลูก ต้นมะตูมป่ามักเกิดตามป่าดงทั่วไป โดยเฉพาะป่าเบญจพรรณ เจริญงอกงามได้ในดินทั่วไปทุกภาค การปลูกนิยมตอนเอากิ่งมาปลูกจะได้ผลดี หรือเอาเมล็ดมาเพาะก็ได้ โดยเอาต้นกล้าที่ปลูกเอาไว้ในถุงพลาสติก รอจนต้นแข็งแรงเสียก่อนจึงเอาไปปลูกในหลุมต่อไป ดูแลรดน้ำเป็นระยะ พร้อมทั้งกำจัดวัชพืช
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์ : สรรพคุณทางยา
- เปลือกรากและลำต้น แก้ไขจับสั่น ขับลมในลำไส้
- ใบสดคั้นเอาน้ำแก้หวัด หลอดลมอักเสบ ตาอักเสบ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)